เส้นทางชีวิตหลังจบแพทย์แล้ว เป็นอย่างไร
วันนี้ขอมาเล่าเรื่องอะไรเล็กน้อย เกี่ยวกับชีวิตของแพทย์นะครับ คิดว่าน่าจะมีประโยชน์ให้กับผู้อ่านได้ในหลายๆส่วน โดยเฉพาะกับคำถามที่ว่า
“หลังจากจบแพทย์ 6 ปีแล้ว หมอแบบพวกเรา ไปอยู่ส่วนไหนของสังคมกันบ้าง”
อย่างที่ทุกๆคนทราบเหมือนกันว่าการเรียนแพทย์นั้นใช้เวลาเรียน 6 ปี หลังจากจบชั้น ม.6 ในระบบภาคการศึกษาปกติของประเทศไทย เข้ามหาวิทยาลัยตอนอายุ 17-18 ปี ตอนจบอายุจะประมาณ 23-24 ปี แตกต่างกันไปในแต่ละคน
พอมาถึงจุดนี้บางส่วนก็จะเลือกที่จะอยู่ในโรงเรียนแพทย์ต่อและเรียนต่อเฉพาะทางในทันที ก็จะจบออกมาเป็นแพทย์เฉพาะทางตั้งแต่อายุยี่สิบปลายๆ ส่วนอีกทางก็อาจจะเลือกออกไปทำงานชดใช้ทุนตามสัญญาที่มีกับภาครัฐ สั้นบ้าง ยาวบ้าง แล้วแต่สัญญา อยู่ในระหว่าง 1-5 ปี
หลังจากนั้นก็จะกลับมาเรียนต่อเฉพาะทาง
พอถึงจังหวะเรียนต่อเฉพาะทาง ก็จะกลับมาเรียน หมออายุรกรรม หมอผ่าตัด หมอตา หมอหู หมอสูติ หมอเด็ก หมอห้องฉุกเฉิน ฯลฯ จะใช้เวลาราวๆ 3-5 ปีแล้วแต่สาขา
หลังจากนั้นพอจบเฉพาะทางเสร็จแล้ว ก็จะมาต่อเฉพาะทางต่อยอด เป็น หมอหัวใจ หมอไต หมอตับ ฯลฯ ว่ากันไปอีก 1-2 ปี แบบนี้
อันนี้คือภาพการเดินทางของหมอในเส้นทางที่เราจะรู้จักและเข้าใจกันดี ให้ผมอธิบายต่อในอีกหนึ่งมุมมองของหมอที่ไม่ได้ทำงานในโรงพยาบาลครับ ซึ่งเทียบสัดส่วนแล้วอาจจะไม่ได้มาก แต่อาจจะเป็นทางเลือกสำหรับใครหลายๆคน
ก่อนอื่นเนื่องจากการที่ตัวเนื้องานไม่ได้อิงกับโรงพยาบาล นั่นแปลว่า ภาระงานส่วนใหญ่ก็อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับการดูแลหรือรักษาคนที่ป่วยโดยตรง แต่จะออกไปในรูปแบบต่างๆ หรือออกไปในแนวทางของการทำวิจัย (research) หรือ ป้องกันโรคมากยิ่งขึ้น (preventive)
ถ้าเราได้ลองมองสาขาวิชาเฉพาะของเวชศาสตร์ป้องกัน (preventive medicine) ที่มีในเมืองไทยตอนนี้ จะมีอยู่ดังนี้ครับ
• ระบาดวิทยา (Epidemiology) เป็นนักระบาดวิทยา ถ้าในยุคโควิดก็จะเห็นภาพชัดเจนที่สุด คือแพทย์ส่วนใหญ่ที่ทำงานในกรมควบคุมโรค มีหน้าที่สอบสวนโรค ส่วนใหญ่แล้วจะทำงานกับภาครัฐเพราะถือเป็น policy maker สามารถขึ้นไปทำงานในองค์กรระหว่างประเทศอย่าง องค์กรอนามัยโลกหรือสำนักงานขององค์กรอนามัยโลกภาคพื้นเอเชีย (SEARO) แบบนี้ ประเทศไทยจะมีหลักสูตรการสอนที่ชื่อว่า FETP ที่มีหมอจากต่างชาติมาเรียนด้วยครับ
• เวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว (Travel Medicine) ดูแลนักเดินทาง (ที่ไม่ใช่แค่นักท่องเที่ยว) ก่อนเดินทางก็ดูแลและหาวิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรค ณ สถานที่ปลายทางที่เดินทางไป เช่น จะไปแทนซาเนีย 1 เดือน ควรต้องเตรียมตัวอย่างไร หรือ ถ้ากลับมาจากการเดินทางแล้วป่วย จะสงสัยโรคอะไร เพราะแต่ละประเทศจะมีสาเหตุของการเกิดโรคที่อาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนกันได้ แม้จะมาด้วยอาการที่ใกล้เคียงกัน
• เวชศาสตร์การบิน (Aviation Medicine) ดูแลทุกอย่างที่เกี่ยวกับการแพทย์ที่อยู่เหนือพื้นดินครับ ยกตัวอย่างให้พอเห็นภาพจะมีแพทย์ที่เรียกว่า Flight surgeon ที่ไม่ใช่ศัลยแพทย์นะครับ แต่เป็นแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยระหว่างที่มีการเคลื่อนย้ายทางอากาศ เช่น จำเป็นต้องมีการย้ายผู้ป่วยข้ามประเทศทางเครื่องบินพยาบาล (air ambulance) หรือในเครื่องบินพาณิชย์
• เวชศาสตร์ทางทะเล (Maritime Medicine) ดูแลทุกอย่างที่เกี่ยวกับทางทะเล ตั้งแต่เวชศาสตร์ใต้น้ำ (underwater) ดูแลเครื่องความดันบรรยากาศสูง (hyperbaric chamber) ซึ่งเรามักจะเข้าใจว่าเอาไว้ภาวะน้ำหนีบในนักดำน้ำ แต่จริงๆเอาไว้ใช้รักษาโรคอื่นได้อีกมากมาย ดูแลคนที่ทำงานในทะเล เพราะในทะเลจะมีระบบกฎหมายการทำงานทางสุขภาพที่แตกต่างของผู้ที่ทำงานบนฝั่งแบบนี้ครับ
• เวชศาสตร์ป้องกันคลินิก (Clinical Preventive Medicine) เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญด้านการป้องกันโรคจะพบได้ในคณะแพทยศาสตร์ เนื่องจากเป็นอาจารย์แพทย์ที่จะทำการสอนด้านเวชศาสตร์ป้องกันให้กับนักศึกษาแพทย์หรือแพทย์ประจำบ้านอีกครั้ง
• สาธารณสุขศาสตร์ (Public health)
• สุขภาพจิตชุมชน (Community Mental Health) แพทย์ที่ดูแลด้านสุขภาพจิตในเชิงของการป้องกัน (จิตแพทย์จะลงลึกไปในเรื่องของการรักษาซึ่งเน้นกันคนละจุดครับ)
• อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine) เป็นแพทย์ที่ดูแลและป้องกันโรคภัยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ มองให้เห็นภาพคือ การจะมีโรงงานอุตสาหกรรมที่คนทำงาน ทำแล้วไม่เกิดปัญหาทางกาย หมอคนนี้คือคนที่ดูแลและป้องกันครับ เช่น โรงงานทำแร่ใยหิน ก็จะจัดการเรื่องแร่ใยหินให้ถูกต้อง ป้องกันไม่ให้เกิดโรคจากแร่ใยหินแบบนี้
• เวชศาสตร์การจราจร (Traffic Medicine) สาขานี้พึ่งจะเริ่มต้นมีประเทศไทยครับ
นอกจากนี้แล้ว จริงๆแล้ว ยังมีสาขาอื่นๆอีก ที่น่าสนใจแต่ยังไม่ได้มีรายละเอียดในบ้านเรามากนักครับ แพทย์ที่ทำงานในด้าน IT โดยเฉพาะ ที่เรียกว่า Medical Informatician ครับ ซึ่งการเรียนการสอนในสาขานี้ เท่าที่ทราบคือยังไม่มีในเมืองไทย ต้องไปเรียนที่ต่างประเทศ
หรือแพทย์ที่ทำงานอยู่ในสายของนักวิจัย เพราะจบทางด้านวิทยาศาสตร์มาพร้อมๆกัน เช่น ด้านเภสัชวิทยา สรีรวิทยา ภายวิภาคศาสตร์ ฯลฯ ส่วนใหญ่ผู้เชี่ยวขาญสาขานี้จะอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่มีคณะแพทย์อยู่ และเป็นผู้ที่ทำการสอนนักศึกษาแพทย์ในช่วงขั้น ปีที่ 2-3 หรือถ้าออกไปทำงานในบริษัทยาก็อาจจะเป็นนักวิจัยยา (Pharmaceutical Researcher)
หรืออาจะเป็นแพทย์ที่ไปทำงานในหน่วยงานของเอกชนที่มีหน่วยงานของแพทย์อยู่ ทำงานเป็นแพทย์ที่เป็นผู้ประสานงานทางการแพทย์ (Medical Coordinator)
ทำงานในบริษัทเอกชนในตำแหน่ง Corporate physician หรือในบริษัทประกัน (Insurance) หรืออาจจะเป็นผู้แทนของบริษัทยา Medical Sales Representative
หรือบางคนอาจจะออกไปโลดแล่นกับหน่วยงานระหว่างประเทศเลย เช่น องค์กรแพทย์ไร้พรมแดน (Médecins Sans Frontières)
หรืออาจจะมาในอาชีพที่คนทั่วไปก็เข้าถึงได้เช่น นักเขียน นักเล่าเรื่อง (medical writer) หรือจะออกมาเริ่มต้นทำธุรกิจในสายงานสุขภาพ (Medical startup entrepreneur) ซึ่งทั้ง 2 อย่างหลังนี้ มีตัวอย่างของผู้ทบุกเบิกไว้ให้เห็นภาพพอสมควรแล้ว
สุดท้ายนี้ ก็ที่เขียนบทความนี้ขึ้นมา ก็อยากให้ทุกคนได้เห็นภาพในอีกด้านหนึ่งของอาชีพที่อาจจะช่วยเป็นแนวทางให้คนหลายๆคน (รุ่นน้องนักศึกษาแพทย์ หรือเพื่อนร่วมวิชาชีพ) หรือผู้ที่สนใจได้ครับ ว่าสามารถมีทางเลือกอะไรที่มีความเป็นไปได้บ้างในตอนนี้
同時也有13部Youtube影片,追蹤數超過71萬的網紅風傳媒 The Storm Media,也在其Youtube影片中提到,On Taiwan Hashtag hosted by Ross Feingold, our guest is Cédric Alviani, Reporters Without Borders (Reporters Sans Frontières, RSF) 無國界記者 East Asia Bur...
「public sans」的推薦目錄:
- 關於public sans 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最佳貼文
- 關於public sans 在 華人民主書院 New School for Democracy Facebook 的最讚貼文
- 關於public sans 在 JOHOR KAKI Blog Facebook 的最佳解答
- 關於public sans 在 風傳媒 The Storm Media Youtube 的最讚貼文
- 關於public sans 在 FORESTちゃんねる Youtube 的精選貼文
- 關於public sans 在 FORESTちゃんねる Youtube 的精選貼文
- 關於public sans 在 uswds/public-sans: A strong, neutral, principles ... - GitHub 的評價
- 關於public sans 在 字嗨| Public Sans 【Motherboard】美國政府為何推出自己的 ... 的評價
- 關於public sans 在 Public Sans (NSW) download 的評價
- 關於public sans 在 Sans public - YouTube 的評價
- 關於public sans 在 Upgrade Public Sans #3953 - githubmemory 的評價
public sans 在 華人民主書院 New School for Democracy Facebook 的最讚貼文
【 #聯署聲明 | 6.26 聯合國國際支持酷刑受害者日 】
#呼籲國際持續關注中國酷刑問題
#敦促中國履行締約義務 #包括落實有效措施禁止一切形式酷刑
1987 年 6 月 26 日聯合國《禁止酷刑和其他殘忍、不人道或有辱人格的待遇或處罰公約》(簡稱《禁止酷刑公約》)正式生效。至 1997 年,這一天被定為「國際支持酷刑受害者日」。
今年是《禁止酷刑公約》的 34 周年紀念,我們以下聯署團體及個人謹此呼籲國際社會團結一致並堅定不懈地監督中國的酷刑問題,這對推動中國政府正視其人權違反狀況,至為關鍵。
中國為《禁止酷刑公約》的首批締約國,卻從未顯示其消除酷刑的決心。我們不忘聯合國人權專家多年來透過與中國政府的對話,提出對中國酷刑與不人道待遇問題的關注和憂慮。即如專家多次強調作爲締約成員,中國政府務須依據國際人權標準及原則,為酷刑定義,修訂刑法及刑訴程序,規範行政及執法權力,整理數據,完善監督問責機制等。
但令人遺憾的是中國政府對專家的大部分建議和呼籲,置若罔聞,而酷刑受害人亦鮮有成功申訴、索償或是追究刑責的例子。
中國政府背道而行,近年不斷強化嚴刑峻法、以含糊虛泛的國安之名,拓張行政和執法權力、將諸如「指定居所監視居住」以及其他不同形式的長期羈押和任意拘禁合理合法化,縱容酷刑繼續存在,將申訴人滅聲,令司法制度進一步扭曲。
根據酷刑受害人的報告指出,他/ 她們在關押期間,曾遭遇的酷刑和不人道的對待包括受襲、毆打、電擊、強迫長時間固定動作、幽禁、剝奪睡眠和足夠食物以至言語侮辱、威嚇和脅迫等等。
就此,我們深切關注近期關於北京丁家喜律師、法律學者許志永、廣東人權捍衛者牛騰宇曾在羈押期間遭受酷刑的報道。
此外,我們仍然憂慮以下各人的身心以及精神健康狀態:
- 陝西人權律師常瑋平,疑因公開自己在 2020 年年初曾受酷刑後,同年 10 月被帶走,至今音訊全無。
- 長沙公益仨人程淵、劉永澤和吳葛健雄;從 2019 年 7 月被羈押後至今音訊全無。
- 北京女權倡議者李翹楚,研究員,2021 年 2 月被帶走,至 3 月正式逮捕,至今無法會見律師及家人。
- 北京人權律師余文生,被判四年徒刑,現於南京服刑中。
除牛騰宇外,上述各人均被控以國安相關罪名,並因而被其本國法律剝奪會見律師的權利,直接增加其遭受酷刑的風險。
我們要進一步指出,近年有報告揭露,在中國酷刑除了被用來針對個別異見和維權人士外,更已被發展成為臣服新疆少數民族的系統性手段,也是管控和鎮壓其他少數民族地區的工具。
就著這些嚴重的關切,我們呼籲中國政府與相關的聯合國人權專家充分合作;亦即是作爲優先事項,允許國際人權專家,包括聯合國人權事務高級專員,立即前往新疆,並在尊重高級專員提出的條件下,讓她不受限禁,進入當地維吾爾族、哈薩克族、回族、吉爾吉斯族及其他受影響社區作有意義的接觸探訪。
我們重申,作爲《禁止酷刑公約》的締約國,中國政府必須履行其締約義務,以積極認真態度面對聯合國專家的關切,並竭力消除其國内的酷刑和不人道對待問題。
我們再次確認國際人權原則和標準,呼籲中國據此改革其刑事訴訟程序和機制:
1. 立即釋放所有被不符合國際人權準則程序關押和囚禁的律師、人權捍衛者以及公民。
2. 承認不受酷刑為不可克減權利的特殊性,不能以國內法給予但書。
3. 以《禁止酷刑公約》爲本,將酷刑的定義納入中國法規;並據此檢視修訂其《刑事訴訟法》,包括但不限於廢除任意羈押和長期拘留、確保會見自選律師的權利等。
4. 制定可及、透明和有效的酷刑投訴機制,以確保受害人可以申索救濟和補償,而加害者得以被法律追究。
5. 設立包含官方和非官方專家的獨立委員會,監督《禁止酷刑公約》在中國有效落實。
作爲此聲明的聯署團體及個人,我們承諾將繼續為中國的人權狀況發聲,並共同努力,推動在中國和世界範圍內消除酷刑。
聯署:
團體
- 國際特赦組織台灣分會(Amnesty International Taiwan) 臺灣
- 無國界律師組織(Avocats Sans Frontieres)
- 改變中國(China Change) 美國,華盛頓
- 中國死刑關注(China Against the Death Penalty)(CADP)
- 中國政治犯關注組(China Political Prisoners Concern Group) 香港
- 中國人權捍衛者(Chinese Human Rights Defenders) 美國,華盛頓
- 全球基督教團結組織(Christian Solidarity Worldwide) 英國
- 中國律師之友(Committee to Support Chinese Lawyers) 美國,紐約
- 經濟民主連合(Economic Democracy Union) 臺灣
- 國際危難律師日(Foundation day of the Endangered Lawyer) 尼德蘭
- 前線衛士(Front Line Defenders) 愛爾蘭
- 香港邊城青年執行委員會(Hong Kong Outlanders Executive Committee) 臺灣
- Human Rights Now 日本
- 人權觀察 (Human Rights Watch) 美國
- 國際人權服務社 (International Service on Human Rights) (ISHR), 瑞士
- 國際西藏網路 (International Tibet Network) 美國
- 民間司法改革基金會(Judicial Reform Foundation) 臺灣
- 律師助律師 (Lawyers for Lawyers) 尼德蘭
- 律師權利觀察(Lawyers' Rights Watch) 加拿大
- 萊特納國際法暨正義中心(Leitner Center for International Law and Justice)美國,紐約
- Monitoring Committee on Attacks on Lawyers 法國
- 國際人民律師協會 (International Association of People's Lawyers )(IAPL).
- 華人民主書院(New School for Democracy) 臺灣
- 台北律師公會(Taipei Bar Association) 臺灣
- 台灣廢除死刑推動聯盟(Taiwan Alliance to End the Death Penalty)
- 台灣人權促進會(Taiwan Association for Human Rights) 臺灣
- 全國律師聯合會(Taiwan Bar Association) 臺灣
- 臺灣聲援中國人權律師網絡(Taiwan Support China Human Rights Lawyers Network) 臺灣
個人
- Jean-Philippe BEJA, 法國國家科學研究院-巴黎政治學院國際研究所名譽教授(Research professor emeritus CNRS-CERI Sciences po, France)
- Jerome A. COHEN, 美國紐約大學法學院 榮譽法學教授(Professor of Law Emeritus, New York University, US)
- Martin FLAHERTY, 美國普林斯頓大學國際公共關係部門 客座教授(Visiting Professor, School of Public and International Affairs, Princeton University, US)
- Eva PILS, Professor, 英國倫敦國王學院潘迪生法學院 教授(Dickson Poon School of Law, King’s College London, UK)
- Stuart RUSSELL, 澳大利亞麥覺里大學法學院 教授 (退休) Macquarie University School of Law, Australia (retired)
- TENG Biao, 美國芝加哥大學波津人權中心 客座教授 Pozen Visiting Professor, University of Chicago, US
(2021 年 6 月 26 日--臺北.日内瓦)
public sans 在 JOHOR KAKI Blog Facebook 的最佳解答
Recently, social media has gone a little mad over a low profile wanton mee stall that serves their noodles with sunny side up egg. That's blasphemy for wanton mee purists and food experts but the general public is flocking to the relatively unknown shop.
🥚
The thing is, the fried egg and wanton mee combo was never meant to a marketing gimmick nor made to feed social media. It was just a way for the lady boss to feed her vegetarian nephew who came to help her during weekends. (Such a nice boy.) As her nephew is vegetarian, she made a wanton mee sans char siew, wanton, lard for him. The egg she added to give the growing boy who was serving NS at the time, some protein. (Such a loving aunt.)
🍳
A customer saw that egg and wanton mee combo and requested for it. It was just fortuitous that the combo caught on unintentionally. This was a few years back and only regulars of this no name stall know about this. (Yes this stall have no name.)
🥚
A few months ago, more people came to know about this combo and it led to a chain reaction. The low profile stall is now busy with requests for this combo.
🥚
Personally, I find the combo works well for my taste buds. The flavours and textures are complementary. I am just happy that auntie's business has improved and some of her lost regulars found her. She has also gained some new customers.
🥢
Taste more 😋https://johorkaki.blogspot.com/2020/09/hock-lam-wanton-mee-hong-ji-mian-shi.html
public sans 在 風傳媒 The Storm Media Youtube 的最讚貼文
On Taiwan Hashtag hosted by Ross Feingold, our guest is Cédric Alviani,
Reporters Without Borders (Reporters Sans Frontières, RSF) 無國界記者 East
Asia Bureau Head. Mr. Alviani explains the impact of dis-information and
fake news on Taiwan, and what stakeholders in Taiwan including
government, media and the public can do in response. We discuss why
improving media education and literacy in Taiwan, rather than only
enacting ever more laws that risk penalizing free speech, is crucial. We
also discuss the new Journalism Trust Initiative launched by RSF that
sets standards for accuracy in reporting and disclosure by media
outlets. Why is Taiwan ranked 42nd in RSF’s 2019 World Press Freedom
Index? Watch our show to learn more!
Watch our show for an in-depth discussion about Kuomintang China and
foreign policy.
無國界記者官方社群媒體:
Facebook: https://www.facebook.com/rsf.east.asia
Twitter: https://twitter.com/RSF_inter
✓ 點我加入《風傳媒》Line 好友(ID:@dyp8323m) http://bit.ly/2hETgWE
✓ 點我訂閱《風傳媒》YouTube 頻道 http://bit.ly/2grkAJ6
✓ 點我追蹤《下班經濟學》IG頻道(ID:@worked_money) https://bit.ly/2WZ1Dnb
【Facebook粉絲團】
風傳媒►► https://www.facebook.com/stormmedia
風生活►► https://www.facebook.com/SMediaLife
下班經濟學►►https://www.facebook.com/workedmoney
public sans 在 FORESTちゃんねる Youtube 的精選貼文
Miiガンナーで体力制を押し付けてくる不埒な人民共め。
己の醜態を晒し上げてやるZOY!(社会的に)極刑ZOY!
Sansは…良いZOY許すZOY…(ねっとりボイス)
【情報&リンク】
■FORESTちゃんねる他の動画シリーズ、チャンネル登録はこちらから!
⇒https://www.youtube.com/channel/UCqvg4TS7m7dgk4WLzAC5qbw?view_as=public
■twitter→https://twitter.com/reefforest436
■連絡先メール:「houjityaiemon@gmail.com」
________________☆___________________________
相手から能力を盗み、低い身長からの意外にあるパワー!
神の構えと評されるしゃがみは冗談抜きで重要。
あとコピー能力の掛け声がかわいい
…おにいさんもかわいいだろいい加減にしろ!
☆______________☆____________________________☆
次回の動画はこちらから!
⇨https://youtu.be/XJ_lzLZJSJA
前回の動画はこちら!
⇒https://youtu.be/Hvg2NgfMaUc
#スマブラ #スマブラSP #ゆっくり実況
public sans 在 FORESTちゃんねる Youtube 的精選貼文
大王に食べれぬ物などない
【情報&リンク】
■FORESTちゃんねる他の動画シリーズ、チャンネル登録はこちらから!
⇒https://www.youtube.com/channel/UCqvg4TS7m7dgk4WLzAC5qbw?view_as=public
■twitter→https://twitter.com/reefforest436
■連絡先メール:「houjityaiemon@gmail.com」
________________☆___________________________
~誰が自称大王だ!~
レミリアお嬢様と共におじさんに引けを取らない
火力のデデデ大王が向かいます。
☆______________☆____________________________☆
次回の動画はこちらから!
⇨https://youtu.be/cYLAcafJgZM
前回の動画はこちら!
⇒https://youtu.be/2PcAKdWgGes
#スマブラ #スマブラSP #ゆっくり実況
public sans 在 字嗨| Public Sans 【Motherboard】美國政府為何推出自己的 ... 的推薦與評價
Public Sans 【Motherboard】美國政府為何推出自己的開源字體? 「製作團隊形容它簡潔、中性,而且它不是Helvetica!」... ... <看更多>
public sans 在 Public Sans (NSW) download 的推薦與評價
Public Sans download. As part of proposed updates to the NSW brand, the NSW brand team and NSW Design System would like to test a new font. ... <看更多>
public sans 在 uswds/public-sans: A strong, neutral, principles ... - GitHub 的推薦與評價
Public Sans is designed to be a progressive enhancement webfont, and to work well with Apple and Google system fonts as the base in its font stack. It's ... ... <看更多>